กิจกรรม

 
มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566 ระหว่างวันที่ 6-8 มกราคม 2566
ผู้เข้าร่วม
วิทยากร
หัวข้อสัมนา
นิทรรศการ

มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ขอเชิญร่วมงาน “มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566 : Regional Research Expo 2023” ภายใต้แนวคิด “การพัฒนาภูมิภาคอย่างยั่งยืนด้วยงานวิจัย นวัตกรรม ภูมิปัญญาล้านนาและโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG” ระหว่างวันที่ 6-8 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง 📌พบกับนิทรรศการ และกิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิ 📍นิทรรศการโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 📍นิทรรศการการวิจัยของหน่วยงาน/นักวิจัยในพื้นที่/เครือข่ายการวิจัยในภูมิภาค 📍นิทรรศการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ 📍พื้นที่ให้คำปรึกษาความรู้จากงานวิจัย 📍ตลาดนัดผลงานวิจัยที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา 📍การประกวดนวัตกรรม ผลงานสร้างสรรค์ ในประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การท่องเที่ยวและภูมิปัญญาล้านนา ภายใต้โมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG 📌การนำเสนอผลงานวิจัย “การพัฒนาภูมิภาคอย่างยั่งยืนด้วยงานวิจัย นวัตกรรม ภูมิปัญญาล้านนาและโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG” 6 กลุ่มเรื่อง 🏆เทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านสุขภาพและวิทยาศาสตร์การแพทย์ 🏆เทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านการเกษตรและอาหาร 🏆เทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านพลังงาน วัสดุ และสิ่งแวดล้อม 🏆ยกระดับการท่องเที่ยว เศรษฐกิจสร้างสรรค์และภูมิปัญญาล้านนา 🏆งานวิจัยนวัตกรรมชุมชน งานวิจัยรับใช้สังคม 🏆การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG

กิจกรรมภาคนิทรรศการตลอดการจัดงาน

โซน 1

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ / นิทรรศการผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการสนับสนุน จาก วช./ นิทรรศการอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือ

โซน 2

นิทรรศการให้คำปรึกษา / ประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์

โซน 3

นิทรรศการการวิจัยของหน่วยงาน /นักวิจัยในพื้นที่ /เครือข่ายการวิจัยภูมิภาค

โซน 4

ตลาดนัด U2T for BCG ตลาดนัดคลินิกเทคโนโลยี และสินค้าโอทอป

 

วันเสาร์ที่ 7 มกราคม 2566
กิจกรรมเสวนา และบรรยาย ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2)
09.00 – 12.00 น.
- ห้องประชุมที่ 1 ประเด็น เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG โดย คุณพรชัย จุฑามาศ
รองผู้อำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
- ห้องประชุมที่ 2 ประเด็น เรื่อง การใช้หลักการ BCG เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารโปรตีน สำหรับเศรษฐกิจชุมชน
โดย ผศ. ดร. ศมณพร สุทธิบาก อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ และ คุณรามินทร์ ศรีโยหะ อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
- ห้องประชุมที่ 3 ประเด็น เรื่อง ARSA Framework Metaverse 2D Avatar (GPU) กับการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG
โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด
- ห้องประชุมที่ 4 ประเด็น เรื่อง Organic Agricultural Network : OAN ระบบ สารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สำหรับกลุ่มธุรกิจเกษตรอินทรีย์ เพื่อขับเคลื่อน เศรษฐกิจ BCG แบบครบวงจร
โดย คุณเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
13.00– 16.00 น. กิจกรรมเสวนา และบรรยาย ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2)
- ห้องประชุมที่ 1 ประเด็น เรื่อง เทคโนโลยีดูแลสุขภาพและนวัตกรรมต้านชราจากผลงานวิจัย
โดย รศ. ดร. ภญ.รัตติรส คนการณ์ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ และ รศ. ดร. ภญ.วรรธิดา ชัยญาณะ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ห้องประชุมที่ 2 ประเด็น เรื่อง เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่เพื่อการพัฒนานวัตกรรมเกษตรและอาหารในภาคเหนือ
โดย ผอ.ปิยะฉัตร ใคร้วานิช เบอร์ทัน ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาพื้นที่และกำลังคน EECI
- ห้องประชุมที่ 3 ประเด็น เรื่อง ARSA Framework กับการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ Start up ในยุคเศรษฐกิจ BCG
โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด

กำหนดการจัดงาน

ระหว่างวันที่ 6 – 8 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

วันศุกร์ที่ 6 มกราคม 2566
ณ เวทีกลาง ห้องประชุมอเนกประสงค์
08.30 น. - ผู้เข้าร่วมพิธีเปิดงานลงทะเบียนเข้าร่วมงาน
08.45 น. - การแสดงต้อนรับ
09.00 น. - การกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงาน ในนามจังหวัดลำปาง โดย นายชัชวาลย์ ฉายะบุตร ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง
- การกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงานในนามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดย ผศ. ดร. จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
09.20 น. - การกล่าวรายงาน โดย ดร. วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
09.30 – 10.00 น. - การกล่าวเปิดงาน โดย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง พลัง อว. กับการพัฒนาภาค พัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
10.30 - 12.00 น. - ห้องประชุมที่ 1 ปาฐกถาพิเศษ
การขับเคลื่อน BCG Area Based ในจังหวัดนำร่อง โดย น.สพ. ยุคล ลิ้มแหลมทอง ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขาเกษตร และ ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา นักวิจัยอาวุโส ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) สวทช.
12.00 – 13.00 น. - รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 16.00 น. - ห้องประชุมอเนกประสงค์ ประเด็น เรื่อง การเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าไทยในภาคเหนือ ด้วยโมเดล BCG โดย รศ.ดร. ยศพงษ์ ลออนวล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ คุณวีระศักดิ์ แป้นพ่วง ผู้จัดการบริษัท WPEV จำกัด
กิจกรรมเสวนา และบรรยาย ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2)
14.00 – 16.00 น. ห้องประชุม 1 ปาฐกถาพิเศษ - อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือและการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG โดย ผศ. ดร. ชนม์เจริญ แสวงรัตน์ ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 

วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566
ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2) กิจกรรมเสวนา และบรรยาย
09.00 – 10.00 น.
- ห้องประชุมที่ 1 ปาฐกถาพิเศษ BCG Model กับการพัฒนาวิจัยประเทศไทย โดย ดร. วรินธร สงคศิริ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
09.00 – 11.00 น.
- ห้องประชุมที่ 2 ประเด็น เรื่อง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG ด้วยนวัตกรรมการท่องเที่ยวยุคดิจิทัลภาคเหนือ
โดย ศ. ดร. เทิดชาย ช่วยบำรุง ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณทิต คณะการจัดการท่องเที่ยว สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์
- ห้องประชุมน 3 เรื่อง ชุมชนรากฐานใหม่ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดย รศ. ดร. อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ประธานคณะกรรมการอำนวยการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
11.00 – 12.00 น. - พิธีปิด
มอบโล่แสดงความขอบคุณแก่หน่วยงานที่ร่วมนำเสนอผลงาน โดย ดร. วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566
เวลา 09.00 น. - 10.00 น.
1.
ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง BCG Model กับการพัฒนาวิจัยประเทศไทย
   โดย ดร. วรินธร สงคศิริ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ
เวลา 09.00 น. - 11.00 น.
2.
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG ด้วยนวัตกรรมการท่องเที่ยวยุคดิจิทัลภาคเหนือ
   โดย ศ. ดร. เทิดชาย ช่วยบำรุง ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณทิต คณะการจัดการท่องเที่ยว สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์
ณ ห้องประชุม 2 15-201
3.
ชุมชนรากฐานใหม่ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต
   โดย รศ. ดร. อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ประธานคณะกรรมการอำนวยการสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณ ห้องประชุม 3 15-203

ตารางกิจกรรม Highlight Stage งาน Regional Research Expo 2023

วันที่ เวลา รายการ
วันที่ 6 มค. 66 09.00-12.00 น. พิธีเปิด
พักเที่ยง
13.00-16.00 น. ดนตรี/โฟล์คซอง
วันที่ 7 มค. 66 08.30-11.00 น. ประกวดมัคคุเทศก์เชิงวัฒนธรรม
11.00-12.00 น. เสวนาหัวข้อ "ผลงานวิจัยที่ตอบสนองการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG"
พักเที่ยง
13.00-16.00 น. เสวนาหัวข้อ "นวัตกรรม BCG สำหรับผู้ประกอบการและเยาวชน" ทีมวิทยากร สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
วันที่ 8 มค. 66 09.00-10.00 น. ประกวดนวัตกรรมสร้างสรรค์บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น
11.00-12.00 น. พิธีปิด

* หมายเหตุ - กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

   ประชุม เสวนา ปาฐกถาพิเศษ

วันศุกร์ที่ 6 มกราคม 2566
เวลา 10.30 น. - 12.00 น.
1.
ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง การขับเคลื่อน BCG Area Based ในจังหวัดนำร่อง
   โดย น.สพ. ยุคล ลิ้มแหลมทอง ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขาเกษตร ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา นักวิจัยอาวุโส ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) สวทช.
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ
เวลา 13.00 น. - 16.00 น.
2.
การเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าไทยในภาคเหนือด้วยโมเดล BCG
   โดย รศ. ดร. ยศพงษ์ ลออนวล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ คุณวีระศักดิ์ แป้นพ่วง ผู้จัดการบริษัท WPEV จำกัด
ณ อาคารอเนกประสงค์
เวลา 14.00 – 16.00 น.
3.
ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือและการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG
   โดย ผศ. ดร. ชนม์เจริญ แสวงรัตน์ ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ

วันเสาร์ที่ 7 มกราคม 2566
เวลา 09.00 น. - 12.00 น.
1.
การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG
   โดย คุณพรชัย จุฑามาศ
   รองผู้อำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ
2.
การใช้หลักการ BCG เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารโปรตีนสำหรับเศรษฐกิจชุมชน
   โดย ผศ. ดร. ศมณพร สุทธิบาก
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ และ
   คุณรามินทร์ ศรีโยหะ
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
ณ ห้องประชุม 2 15-201
3.
ARSA Framework Metaverse 2D Avatar (GPU) กับการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG
   โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด
   ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด
ณ ห้องประชุม 3 15-203
4.
Organic Agricultural Network : OAN ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สำหรับกลุ่มธุรกิจเกษตรอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG แบบครบวงจร
   โดย คุณเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ
   ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ณ ห้องประชุม 4 15-202
เวลา 13.00 น. - 16.00 น.
5.
เทคโนโลยีดูแลสุขภาพและนวัตกรรมต้านชราจากผลงานวิจัย
   โดย รศ.ดร.ภญ.รัตติรส คนการณ์ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ รศ. ดร. ภญ.วรรธิดา ชัยญาณะ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ
6.
เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่เพื่อการพัฒนานวัตกรรมเกษตรและอาหารในภาคเหนือ
   โดย ผอ.ปิยะฉัตร ใคร้วานิช เบอร์ทัน
   ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาพื้นที่และกำลังคน EECI
ณ ห้องประชุม 2 15-201
7.
ARSA Framework กับการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ Start up ในยุคเศรษฐกิจ BCG
   โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด
   ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด
ณ ห้องประชุม 3 15-203

วิทยากร ผู้ร่วมเสวนา

ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง อว. กับการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ BCG เป็นฐานในการพัฒนาชาติ

น.สพ.ดร.ยุคล ลิ้มแหลมทอง

ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน BCG สาขาเกษตร

ปาฐกถาพิเศษ BCG เพื่อขับเคลื่อนภาคเหนือ ณ ห้องประชุม 1

คุณพรชัย จุฑามาศ

รองผู้อำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ

การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG ณ ห้องประชุม 1

รศ.ดร.ยศพงษ์ ลออนวล

ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าไทยในภาคเหนือ ด้วยโมเดล BCG ณ อาคารอเนกประสงค์

คุณเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ

ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Organic Agricultural Network : OAN ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สำหรับกลุ่มธุรกิจเกษตรอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG แบบครบวงจร ณ ห้องประชุม 1

คุณวีระศักดิ์ แป้นพ่วง

ผู้จัดการบริษัท WPEV จำกัด

การเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าไทยในภาคเหนือด้วยโมเดล BCG ณ อาคารอเนกประสงค์

ผศ.ดร. ศมณพร สุทธิบาก

อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

การใช้หลักการ BCG เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารโปรตีน สำหรับเศรษฐกิจชุมชน ณ ห้องประชุม 2

คุณรามินทร์ ศรีโยหะ

นักวิจัยอิสระ

การใช้หลักการ BCG เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารโปรตีน สำหรับเศรษฐกิจชุมชน ณ ห้องประชุม 2

รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด

ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด

ARSA Framwork Metaverse 2D Avater GPU กับการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG ณ ห้องประชุม 3

ผอ.ปิยะฉัตร ใคร้วานิช เบอร์ทัน

ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาพื้นที่และกำลังคน EECI

เทคโนโลยีดิจิตอลสมัยใหม่ในเทคโนโลยีดิจิตอลสมัยใหม่เพื่อการพัฒนานวัตกรรมเกษตรและอาหารในภาคเหนือ ณ ห้องประชุม 2

ศ.ดร. เทิดชาย ช่วยบำรุง

ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณทิต คณะการจัดการท่องเที่ยวสถาบันบัณทิตพัฒน บริหารศาสตร์

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG ด้วยนวัตกรรมการท่องเที่ยวยุคดิจิทัลภาคเหนือ ณ ห้องประชุม 2

รศ.ดร.อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ

ประธานคณะกรรมการอำนวยการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ชุมชนวิจัยรากฐานใหม่ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ณ ห้องประชุม 3

ภาพกิจกรรม

  • All
  • กำหนดการ
  • ภาพการจัดงาน

Regional Research Expo 2023

poster

Regional Research Expo 2023

ภาพกิจกรรม

Regional Research Expo 2023

กำหนดการ

Regional Research Expo 2023

กำหนดการ

Regional Research Expo 2023

กำหนดการ

Regional Research Expo 2023

กำหนดการ

ดาวน์โหลด

เอกสารประกอบการจัดงาน มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566 : Regional Research Expo 2023

หนังสือเชิญ

รายละเอียดและรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่จัดนิทรรศการ คู่มือจัดงาน สำหรับผู้นำเสนอผลงานภาคนิทรรศการ มาตรการในการคัดกรองผู้เข้าร่วมงานสัมมนาและชมนิทรรศการ ข้อมูลทั่วไป ข้อปฏิบัติของผู้นำเสนอผลงานภาคนิทรรศการ สิ่งที่ขอความอนุเคราะห์ผู้ประสานงานวิจัยให้ดำเนินการ กฎระเบียบข้อบังคับ กําหนดการมหกรรมงานวิจัยส่วนภูมภาค แบบตอบรับเข้าร่วมเป็นวิทยากร แบบตอบรับเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ

View & Download
Template

ไฟล์ Template มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566

View & Download
สูจิบัตร

สูจิบัตร มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค 2023

View & Download

ผู้สนับสนุนและเครือข่าย

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

สถานที่จัดงาน

200 หมู่ 17 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง

researchexpo@rmutl.ac.th

0 5434 2547-8