มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ขอเชิญร่วมงาน “มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566 : Regional Research Expo 2023” ภายใต้แนวคิด “การพัฒนาภูมิภาคอย่างยั่งยืนด้วยงานวิจัย นวัตกรรม ภูมิปัญญาล้านนาและโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG” ระหว่างวันที่ 6-8 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง 📌พบกับนิทรรศการ และกิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิ 📍นิทรรศการโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 📍นิทรรศการการวิจัยของหน่วยงาน/นักวิจัยในพื้นที่/เครือข่ายการวิจัยในภูมิภาค 📍นิทรรศการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ 📍พื้นที่ให้คำปรึกษาความรู้จากงานวิจัย 📍ตลาดนัดผลงานวิจัยที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา 📍การประกวดนวัตกรรม ผลงานสร้างสรรค์ ในประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การท่องเที่ยวและภูมิปัญญาล้านนา ภายใต้โมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG 📌การนำเสนอผลงานวิจัย “การพัฒนาภูมิภาคอย่างยั่งยืนด้วยงานวิจัย นวัตกรรม ภูมิปัญญาล้านนาและโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG” 6 กลุ่มเรื่อง 🏆เทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านสุขภาพและวิทยาศาสตร์การแพทย์ 🏆เทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านการเกษตรและอาหาร 🏆เทคโนโลยีนวัตกรรม ด้านพลังงาน วัสดุ และสิ่งแวดล้อม 🏆ยกระดับการท่องเที่ยว เศรษฐกิจสร้างสรรค์และภูมิปัญญาล้านนา 🏆งานวิจัยนวัตกรรมชุมชน งานวิจัยรับใช้สังคม 🏆การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG
กิจกรรมภาคนิทรรศการตลอดการจัดงาน
โซน 1
นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ / นิทรรศการผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการสนับสนุน จาก วช./ นิทรรศการอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือ
โซน 2
นิทรรศการให้คำปรึกษา / ประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
โซน 3
นิทรรศการการวิจัยของหน่วยงาน /นักวิจัยในพื้นที่ /เครือข่ายการวิจัยภูมิภาค
โซน 4
ตลาดนัด U2T for BCG ตลาดนัดคลินิกเทคโนโลยี และสินค้าโอทอป
วันเสาร์ที่ 7 มกราคม 2566 | |
กิจกรรมเสวนา และบรรยาย ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2) | |
09.00 – 12.00 น. | - ห้องประชุมที่ 1 ประเด็น เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG
โดย คุณพรชัย จุฑามาศ
รองผู้อำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ - ห้องประชุมที่ 2 ประเด็น เรื่อง การใช้หลักการ BCG เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารโปรตีน
สำหรับเศรษฐกิจชุมชน
โดย ผศ. ดร. ศมณพร สุทธิบาก อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ และ คุณรามินทร์ ศรีโยหะ อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร - ห้องประชุมที่ 3 ประเด็น เรื่อง ARSA Framework Metaverse 2D Avatar (GPU) กับการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG
โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด - ห้องประชุมที่ 4 ประเด็น เรื่อง Organic Agricultural Network : OAN ระบบ
สารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สำหรับกลุ่มธุรกิจเกษตรอินทรีย์ เพื่อขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ BCG แบบครบวงจร
โดย คุณเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรม
กองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
|
13.00– 16.00 น. | กิจกรรมเสวนา และบรรยาย ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2) |
- ห้องประชุมที่ 1 ประเด็น เรื่อง เทคโนโลยีดูแลสุขภาพและนวัตกรรมต้านชราจากผลงานวิจัย
โดย รศ. ดร. ภญ.รัตติรส คนการณ์ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ และ รศ. ดร. ภญ.วรรธิดา ชัยญาณะ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ห้องประชุมที่ 2 ประเด็น เรื่อง เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่เพื่อการพัฒนานวัตกรรมเกษตรและอาหารในภาคเหนือ
โดย ผอ.ปิยะฉัตร ใคร้วานิช เบอร์ทัน ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาพื้นที่และกำลังคน EECI - ห้องประชุมที่ 3 ประเด็น เรื่อง ARSA Framework กับการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ Start up
ในยุคเศรษฐกิจ BCG
โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด |
กำหนดการจัดงาน
ระหว่างวันที่ 6 – 8 มกราคม 2566
ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง
ตำบลพิชัย อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
วันศุกร์ที่ 6 มกราคม 2566 | |
ณ เวทีกลาง ห้องประชุมอเนกประสงค์ | |
08.30 น. | - ผู้เข้าร่วมพิธีเปิดงานลงทะเบียนเข้าร่วมงาน |
08.45 น. | - การแสดงต้อนรับ |
09.00 น. | - การกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงาน ในนามจังหวัดลำปาง โดย นายชัชวาลย์ ฉายะบุตร ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง |
- การกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงานในนามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดย ผศ. ดร. จัตตุฤทธิ์ ทองปรอน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา | |
09.20 น. | - การกล่าวรายงาน โดย ดร. วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ |
09.30 – 10.00 น. | - การกล่าวเปิดงาน โดย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง พลัง อว. กับการพัฒนาภาค พัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน |
10.30 - 12.00 น. | - ห้องประชุมที่ 1 ปาฐกถาพิเศษ |
การขับเคลื่อน BCG Area Based ในจังหวัดนำร่อง โดย น.สพ. ยุคล ลิ้มแหลมทอง ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขาเกษตร และ ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา นักวิจัยอาวุโส ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) สวทช. | |
12.00 – 13.00 น. | - รับประทานอาหารกลางวัน |
13.00 – 16.00 น. | - ห้องประชุมอเนกประสงค์ ประเด็น เรื่อง การเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าไทยในภาคเหนือ ด้วยโมเดล BCG โดย รศ.ดร. ยศพงษ์ ลออนวล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาความยั่งยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ คุณวีระศักดิ์ แป้นพ่วง ผู้จัดการบริษัท WPEV จำกัด |
กิจกรรมเสวนา และบรรยาย ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2) | |
14.00 – 16.00 น. | ห้องประชุม 1 ปาฐกถาพิเศษ - อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือและการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG โดย ผศ. ดร. ชนม์เจริญ แสวงรัตน์ ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566 | |
ณ อาคารวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (ชั้น 2) กิจกรรมเสวนา และบรรยาย | |
09.00 – 10.00 น. | - ห้องประชุมที่ 1 ปาฐกถาพิเศษ BCG Model กับการพัฒนาวิจัยประเทศไทย
โดย ดร. วรินธร สงคศิริ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
|
09.00 – 11.00 น. | - ห้องประชุมที่ 2 ประเด็น เรื่อง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG ด้วยนวัตกรรมการท่องเที่ยวยุคดิจิทัลภาคเหนือ
โดย ศ. ดร. เทิดชาย ช่วยบำรุง ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณทิต คณะการจัดการท่องเที่ยว สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์ - ห้องประชุมน 3 เรื่อง ชุมชนรากฐานใหม่ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดย รศ. ดร. อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ประธานคณะกรรมการอำนวยการ
สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
11.00 – 12.00 น. | - พิธีปิด
มอบโล่แสดงความขอบคุณแก่หน่วยงานที่ร่วมนำเสนอผลงาน
โดย ดร. วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
|
วันอาทิตย์ที่ 8 มกราคม 2566 | |||
เวลา 09.00 น. - 10.00 น. | |||
1. | ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง BCG Model กับการพัฒนาวิจัยประเทศไทย
โดย ดร. วรินธร สงคศิริ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
|
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ | |
เวลา 09.00 น. - 11.00 น. | |||
2. | การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG ด้วยนวัตกรรมการท่องเที่ยวยุคดิจิทัลภาคเหนือ
โดย ศ. ดร. เทิดชาย ช่วยบำรุง ผู้อำนวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณทิต
คณะการจัดการท่องเที่ยว สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์
|
ณ ห้องประชุม 2 15-201 | |
3. | ชุมชนรากฐานใหม่ของการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โดย รศ. ดร. อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ
ประธานคณะกรรมการอำนวยการสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
ณ ห้องประชุม 3 15-203 |
ตารางกิจกรรม Highlight Stage งาน Regional Research Expo 2023
วันที่ | เวลา | รายการ |
---|---|---|
วันที่ 6 มค. 66 | 09.00-12.00 น. | พิธีเปิด |
พักเที่ยง | ||
13.00-16.00 น. | ดนตรี/โฟล์คซอง | |
วันที่ 7 มค. 66 | 08.30-11.00 น. | ประกวดมัคคุเทศก์เชิงวัฒนธรรม |
11.00-12.00 น. | เสวนาหัวข้อ "ผลงานวิจัยที่ตอบสนองการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG" | |
พักเที่ยง | ||
13.00-16.00 น. | เสวนาหัวข้อ "นวัตกรรม BCG สำหรับผู้ประกอบการและเยาวชน" ทีมวิทยากร สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) | |
วันที่ 8 มค. 66 | 09.00-10.00 น. | ประกวดนวัตกรรมสร้างสรรค์บนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น |
11.00-12.00 น. | พิธีปิด |
* หมายเหตุ - กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
ประชุม เสวนา ปาฐกถาพิเศษ
วันศุกร์ที่ 6 มกราคม 2566 | |||
เวลา 10.30 น. - 12.00 น. | |||
1. | ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง การขับเคลื่อน BCG Area Based ในจังหวัดนำร่อง
โดย น.สพ. ยุคล ลิ้มแหลมทอง ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขาเกษตร
ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา นักวิจัยอาวุโส ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) สวทช.
|
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ | |
เวลา 13.00 น. - 16.00 น. | |||
2. | การเติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าไทยในภาคเหนือด้วยโมเดล BCG
โดย รศ. ดร. ยศพงษ์ ลออนวล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาความยั่งยืน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ
คุณวีระศักดิ์ แป้นพ่วง ผู้จัดการบริษัท WPEV จำกัด
|
ณ อาคารอเนกประสงค์ | |
เวลา 14.00 – 16.00 น. | |||
3. | ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือและการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG
โดย ผศ. ดร. ชนม์เจริญ แสวงรัตน์ ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ |
วันเสาร์ที่ 7 มกราคม 2566 | |||
เวลา 09.00 น. - 12.00 น. | |||
1. | การอนุรักษ์ทรัพยากรไทยเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG
โดย คุณพรชัย จุฑามาศ
รองผู้อำนวยการโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
|
ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ | |
2. | การใช้หลักการ BCG เพื่อส่งเสริมการผลิตอาหารโปรตีนสำหรับเศรษฐกิจชุมชน
โดย ผศ. ดร. ศมณพร สุทธิบาก
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ และ
คุณรามินทร์ ศรีโยหะ
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
|
ณ ห้องประชุม 2 15-201 | |
3. | ARSA Framework Metaverse 2D Avatar (GPU) กับการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG
โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด
ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด
|
ณ ห้องประชุม 3 15-203 | |
4. | Organic Agricultural Network : OAN ระบบสารสนเทศเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ สำหรับกลุ่มธุรกิจเกษตรอินทรีย์เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG แบบครบวงจร
โดย คุณเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
|
ณ ห้องประชุม 4 15-202 | |
เวลา 13.00 น. - 16.00 น. | |||
5. | เทคโนโลยีดูแลสุขภาพและนวัตกรรมต้านชราจากผลงานวิจัย
โดย รศ.ดร.ภญ.รัตติรส คนการณ์ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
รศ. ดร. ภญ.วรรธิดา ชัยญาณะ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
| ณ ห้องประชุม 1 ซอมพอ | |
6. | เทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่เพื่อการพัฒนานวัตกรรมเกษตรและอาหารในภาคเหนือ
โดย ผอ.ปิยะฉัตร ใคร้วานิช เบอร์ทัน
ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาพื้นที่และกำลังคน EECI
|
ณ ห้องประชุม 2 15-201 | |
7. | ARSA Framework กับการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ Start up ในยุคเศรษฐกิจ BCG
โดย รศ.ดร.อาษา ตั้งจิตสมคิด
ประธานกรรมการ บริษัท อาษา โปรดักชั่น จำกัด
|
ณ ห้องประชุม 3 15-203 |
วิทยากร ผู้ร่วมเสวนา
ดาวน์โหลด
เอกสารประกอบการจัดงาน มหกรรมงานวิจัยส่วนภูมิภาค ประจำปี 2566 : Regional Research Expo 2023
หนังสือเชิญ
รายละเอียดและรูปแบบการดำเนินงานของพื้นที่จัดนิทรรศการ คู่มือจัดงาน สำหรับผู้นำเสนอผลงานภาคนิทรรศการ มาตรการในการคัดกรองผู้เข้าร่วมงานสัมมนาและชมนิทรรศการ ข้อมูลทั่วไป ข้อปฏิบัติของผู้นำเสนอผลงานภาคนิทรรศการ สิ่งที่ขอความอนุเคราะห์ผู้ประสานงานวิจัยให้ดำเนินการ กฎระเบียบข้อบังคับ กําหนดการมหกรรมงานวิจัยส่วนภูมภาค แบบตอบรับเข้าร่วมเป็นวิทยากร แบบตอบรับเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ
View & Downloadผู้สนับสนุนและเครือข่าย
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สถานที่จัดงาน
200 หมู่ 17 ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง
researchexpo@rmutl.ac.th
0 5434 2547-8